รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย (Network Topology) ทั้ง 4 รูปแบบ
1.แบบดาว ป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยนำสถานีต่างๆมาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสรระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติตอผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆที่ต้องการติดต่อกัน
ลักษณะการทำงาน เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือ ฮับ เป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่าบทุกโหนดในเครือข่ายเป็นสถานีการควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให้กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาวจะเป็นแบบสองทิศทางโดยจะอนุญาติให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม่มีโอกาสที่หลายๆโหลดจะส่งข้อมุลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกันเพียงป้องกันการชนกันของสัณญาณข้อมูลเครือข่ายแบบดาวเป็นรูปแบบหนึ่งที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
2.แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกันกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยงสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องวคอมพิวเตอร์ของตัวเองหลังจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมุลตอ่ไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป็นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นสถานีใดเครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้นเครื่งองขยายสัญญาณจึงต้องมีการตรวจข้อมุลที่ได้รับว่าเป็นเจ้าของตนเองหรือไม่ด้วย ถ้าใช่ก็รับไว้ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
2.แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกันกับเครื่องขยายสัญญาณของตัวเองโดยจะมีการเชื่อมโยงสัญญาณของทุกสถานีเข้าด้วยกันเป็นวงแหวน เครื่องขยายสัญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเครื่องวคอมพิวเตอร์ของตัวเองหลังจากเครื่องขยายสัญญาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมุลตอ่ไปยังเครื่องขยายสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป็นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นสถานีใดเครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้กับสถานีนั้นเครื่งองขยายสัญญาณจึงต้องมีการตรวจข้อมุลที่ได้รับว่าเป็นเจ้าของตนเองหรือไม่ด้วย ถ้าใช่ก็รับไว้ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
ลักษณะกานทำงาน เป็นการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆเข้ากันเป็นวงกลมข้อมูลข่าวสารจะส่งจากหน่วยหนึ่งไปยังอีกหน่วยหนึ่ง ควรอยู่ในเครือข่ายไปในทิศทางเดียวเหมือนวงแหวน(ในระบบเครือข่ายรูปวงแหวน บางระบบสามารถส่งข่อมุลได้สองทิศทาง)ในแต่ละโหนดหรือสถานีจะมีรีพีตเตอร์ประจำโหนดหนึ่งตัวซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข่าวสารที่จำเป็นต่อการสื่อสารในส่วนหัวของ เพ็กเกจข้อมูลสำหรับการส่งข้อมูลออกจากโหนดและมีหน้าที่รับเพ็กเกจข้อมูลที่ไหลผ่านมาจากสายสื่อสารเพื่อตรวจสอบว่าเป็นข้อมูลที่ส่งมาให้โหนดของตนหรือไม่ถ้าใช่ก็คัดลอกข้อมูลทั้งโหมดนั้นส่งต่อไปให้กับโหนดข้องตนเต่ถ้าไม่ใช่ก็ปล่อยข้อมูลนั้นไปยังรีพีตเตอร์ของโหนดต่อไป
3.เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป้นเครือข่ายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาวต่อเนื่องไปเรื่อยๆโดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเลิ้ลในการส่งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอรืเพียงตีวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ช่วงเวลาหนึ่งๆการจัดส่งข้อมูลวินี้จะต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจแบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกันในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้คอมพิวเตอรืและอุปกรณ์แต่ละชนิดถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบอิลเพี่ยงเสินเดียวซึ่งจะใช้ในเคริอข่ายขนาดเล็กในองค์ที่มีคอมพิวเอตร์ใช้ไม่มากนัก
ลักษณะการทำงาน อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนดในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้าสาวยสื่อสารหลักที่เรียกว่า บีส(BUS)เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปยังอักอีกโหนดหน่งภายในเครื่อข่ายจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ถ้าหากไม่ว่างก็ไม่สามารถจะส่งข้อมูลออกไปได้ทั้งนี้เพราะสายสื่อารหลักมีเพยงสายเดยวในกรณีที่มีข้อมูลวิ่งมาในบัสข้อมูลนี้จะวิ่งผ่านโหนดต่างๆไปเรื่อยๆในขณะที่แต่ละโหนดจะคอยจตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านมาว่าเป้นของตนเองหรือไม่หากไม่ใช่ก็จะปล่อยให้ข้อมูลวิ่งผ่านไปแต่หากเลขที่อยู่ปลายทางซึ่งกำกับมาจากข้อมูลเลขที่อยู่ของของตนโหนดนั้นก็จะรับข้อมูลเข้าไป
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น